หน้าหลัก ติวสอบดอทคอม เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์

หน้าหลัก ติวสอบดอทคอม เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
หน้าหลัก ติวสอบดอทคอม เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์

พัฒนาความรู้ สู่ รอง./ผอ.รร. ปี 2566

พัฒนาความรู้ สู่ รอง./ผอ.รร. ปี 2566
พัฒนาความรู้ สู่ รอง./ผอ.รร. ปี 2566

คลิ๊ก "สมัครพัฒนาความรู้สู่ผู้บริหาร / ครูผู้ช่วย

คลิ๊ก... สมัคร พัฒนาความรู้ สู่ ครูผู้ช่วย
คลิ๊ก... สมัคร พัฒนาความรู้ สู่ ผู้บริหาร

ติวสอบดอทคอม (เตรียมสอบครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)

ติวสอบดอทคอม (เตรียมสอบครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
ติวสอบดอทคอม (เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์ สอบครู ผู้บริหาร บุคลากร)

วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2559

จริงหรือ? คนที่ใช่ไม่ได้ใช้ อี-เพย์เมนท์ นโยบายขายฝัน ไกลเกินคนฐานราก

เรื่องใหม่น่าสนใจ  (ทั้งหมด ที่ )


(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข


40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ 


ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com 

-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

 ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษาชุดใหม่



 เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่

 ติวสอบ บน ยูทูป

 คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้   
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา 


จริงหรือ? คนที่ใช่ไม่ได้ใช้ อี-เพย์เมนท์ นโยบายขายฝัน ไกลเกินคนฐานราก



หลังจาก ทีมข่าวเศรษฐกิจไทยรัฐออนไลน์ ได้พาไปทำความรู้จักกับ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) กันคร่าวๆ ไปแล้ว (ถึงเวลาเปลี่ยน แถบแม่เหล็กเป็นชิปการ์ด ก้าวสู่ยุคเงินอิเล็กทรอนิกส์) หลายคนคงอาจจะยังมีข้อสงสัยว่า คนไทยจะได้รับประโยชน์อะไรจากการพัฒนาระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวนี้ และการชำระเงินโดยใช้บัตรเพียงใบเดียว จะเป็นระบบการชำระเงินที่ดีที่สุด ตามที่หลายฝ่ายคาดหวังไว้จริงหรือ? 
ทำความรู้จักระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)

ระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของระบบการเงินประเทศ ช่วยให้ผู้บริการชำระค่าสินค้าและบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในระบบจะมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ ระบบการโอนเงินที่มีมูลค่ามาก ระบบการโอนเงินที่มีมูลค่าน้อยแต่มีปริมาณมาก และเครือข่ายการชำระด้วยบัตรขั้นตอนในการชำระเงิน
e-Payment เป็นกระบวนการส่งมอบหรือโอนสื่อการชำระเงิน เพื่อชำระราคาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม โทรสาร หรือแม้แต่โทรศัพท์มือถือ โดยมีขั้นตอนดังนี้
- ตกลงซื้อสินค้า กรอกข้อมูลบัตรเครดิต ซึ่งข้อมูลส่วนนี้ทางร้านไม่สามารถเห็นได้
- ส่งข้อมูลไปยัง Acquiring Bank (ธนาคารที่ร้านค้าใช้บริการ)
- Acquiring Bank ทำการตรวจสอบมายังธนาคารผู้ออกบัตร ว่าบัตรเป็นของจริงและสามารถใช้ได้ ก่อนจะเรียกเก็บเงินจากธนาคารผู้ออกบัตร
- ธนาคารผู้ออกบัตรโอนเงินไปยัง Acquiring Bank เพื่อนำเข้าสู่บัญชีร้านค้า

- ส่งข้อมูลการชำระกลับไปยังร้านค้า และร้านค้าจะส่งข้อมูลการชำระกลับไปยังลูกค้า เพื่อยืนยันการสั่งซื้อ
นอกจากนี้ ยังมีอีกหนึ่งกระบวนการที่เป็นที่นิยมกันมากที่สุด คือ การชำระเงินด้วยบัตรเครดิตบนอินเทอร์เน็ต โดยวิธีการ เริ่มจาก 
การชำระเงินด้วยบัตรเครดิตบนอินเตอร์เน็ต เป็นอีกหนึ่งกระบวนการที่นิยมใช้
- สั่งซื้อและส่งข้อมูลเกี่ยวกับบัตรเครดิตไปให้ผู้ขาย
- ผู้ขายยืนยันส่งข้อมูลการสั่งซื้อกลับมายังผู้ซื้อ
- ผู้ขายรับข้อมูลการสั่งซื้อ (มองไม่เห็นเลขบัตรเครดิต)
- ผู้ขายส่งข้อมูล Encrypted Payment ไปยังเครื่องบริการด้านการจ่ายเงินทาง online (Cyber Cash Server)

- Cyber Cash Server รับข้อมูลผ่านทาง Fire wall ถอดรหัสข้อมูลลูกค้าและส่งไปยังธนาคารผู้ขายและผู้ซื้อ
- ธนาคารผู้ขายร้องขอให้ธนาคารผู้ซื้อรับจ่ายเงินตามจำนวนเงินตามยอดบัตรเครดิต

- ธนาคารผู้ซื้อตรวจสอบข้อมูล แล้วส่งกลับไปว่าอนุมัติหรือไม่ และ transfer ยอดเงินให้ผู้ขาย
- Cyber Cash Server รับข้อมูลส่งต่อไปยังผู้ขายเพื่อส่งข้อมูลไปยังผู้ซื้อต่อไป
e-Payment ช่วยลดความยุ่งยากในการทำธุรกรรม พร้อมช่วยในด้านรักษาความปลอดภัย!
การช็อปปิ้งจะเป็นไปด้วยความสะดวกสบาย ด้วยการใช้บัตรใบเดียวแทนเงินสด
ด้วยการบริการเทคโนโลยีที่เข้าถึงได้ง่าย จะช่วยลดขั้นตอนทางราชการที่ยุ่งยากซับซ้อน แถมยังไม่จำเป็นต้องเดินทางไปชำระเงินด้วยวิธีการเดิมๆ สามารถประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และเวลาที่เสียไปจากการเดินทางรวมถึงความเสี่ยงจากการถือเงินสด เป็นต้น 
นอกจากนี้ ระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ ยังช่วยในการรักษาความปลอดภัย เพราะมีความสามารถในการระบุตัวตน (Anthentication) ความเป็นหนึ่งเดียวของข้อมูล (Integriry) ความไม่สามารถปฏิเสธได้ (Non-repudiation) สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) ซึ่งมีวิธีการรักษาความปลอดภัย คือ การใช้รหัส (Encryption) ใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic certificate) และโปรโตคอล (Protocols)
ระบบ e-Payment ช่วยลดความผิดพลาดในการกรอกข้อมูลการทำรายการ เนื่องจากระบบจะดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้
ในส่วนภาคธุรกิจนั้น จะช่วยลดความผิดพลาดในการกรอกข้อมูลการทำรายการ เนื่องจากระบบ e-Payment จะดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้ เช่น เลขที่บัญชีผู้มีอำนาจในการสั่งจ่าย วงเงินในการสั่งจ่าย เป็นต้น ทำให้องค์กรสามารถทำงานได้รวดเร็ว ลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น จากการจัดพิมพ์เอกสาร ทำให้การดำเนินงานทางด้านบัญชีและการเงิน มีความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมากยิ่งขึ้น
ระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ จะช่วยให้ผู้บริการชำระค่าสินค้าและบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งหมดคือภาพรวมและผลประโยชน์ สำหรับตัวบุคคลและองค์กรที่จะได้รับจาก e-Payment แต่ทุกท่านน่าจะเคยเห็นเงื่อนไขที่บางร้านค้าวางเอาไว้ว่า การชำระเงินด้วยบัตรเครดิต จะต้องมีมูลค่าการซื้อสินค้าหรือค่าบริการขั้นต่ำ 1,000 บาทขึ้นไป แล้วในอนาคตที่บัตรอิเล็กทรอนิกส์จะเข้ามามีบทบาทสำคัญ การชำระเงินในจำนวนเพียงเล็กน้อย ทางร้านค้าจะรับหรือไม่?

ในขั้นตอนนี้ ผู้ให้บริการได้กำหนดเอาไว้ว่าวงเงินขั้นต่ำที่เริ่มใช้บัตรได้ควรจะอยู่ที่ 10-20 บาทต่อการรูดซื้อสินค้า เนื่องจากประชาชนทั้งประเทศมีฐานะทางด้านการเงินที่แตกต่างกัน
จากจุดนี้เอง ประเภทของสินค้าที่ซื้อ และยอดเงินในการชำระเงินผ่านบัตรอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ จะทำให้รัฐบาลสามารถแยกแยะผู้มีรายได้สูง-ต่ำ ซึ่งจะช่วยทำให้ภาครัฐสามารถที่จะให้ความช่วยเหลือหรือออกมาตรการต่างๆ เพื่อคนรายได้น้อยได้อย่างตรงจุด และสามารถทบทวนมาตรการความช่วยเหลือแบบเหวี่ยงแหในอดีต เช่น 30 บาทรักษาทุกโรค รถเมล์ รถไฟฟรี ที่คนไทยมีสิทธิเท่าเทียมกันทุกคน และทุกฝ่ายจะเริ่มมองเห็นภาพความแตกต่างที่ชัดเจน คนที่ใช้จ่ายเงินจำนวนมากก็จะมีเงินอยู่ในบัตรมาก อาจไม่ควรได้สิทธิจะใช้บริการขนส่งสาธารณะฟรีจากมาตรการของรัฐบาลอีกต่อไป

ระบบ e-Payment ได้ถูกออกแบบให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลการใช้จ่ายเงินของบุคคลผ่านบัตรไปถึงร้านค้า และจากสถาบันการเงินไปถึงกรมสรรพากร ซึ่งเท่ากับเป็นการสร้างฐานข้อมูลของประเทศไทยขึ้นมาใหม่ทั้งหมด ส่งผลให้คนรวยที่ไม่เคยเสียภาษี หรือเสียภาษีน้อย เพราะอ้างว่ามีรายได้เพียงเล็กน้อย แต่หากยอดการใช้จ่ายเงินมากไม่สอดคล้อง ข้อมูลเหล่านี้ก็จะปรากฏขึ้นมา ทำให้กรมสรรพากรรู้ตัว เช่นเดียวกับร้านค้าที่เคยแสดงผลดำเนินงานขาดทุนมาโดยตลอด แต่กลับมียอดขายพุ่งสูงลิ่วจากยอดการรับบัตรผ่าน e-Payment กรมสรรพากรก็จะมีหลักฐานใหม่ๆ เกิดขึ้น และเข้าไปตรวจสอบภาษีได้ทันที
** หากระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ทำได้สำเร็จ กรมสรรพากรจะมีรายได้เพิ่มขึ้นปีละ 100,000 ล้านบาท โดยไม่มีความจำเป็นต้องขึ้นภาษีใดๆ ในอนาคต

นอกจากนี้ ผลสำรวจของวีซ่า ซึ่งจัดทำโดย บริษัท มูดี้ส์ อนาลิติคส์ ได้มีการเปิดเผยด้วยว่า จำนวนธุรกรรมและมูลค่าที่เพิ่มขึ้นของการชำระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมถึงการชำระผ่านบัตรเครดิต บัตรเดบิต และบัตรพรีเพดในปัจจุบัน เพิ่มมูลค่าให้เศรษฐกิจไทยถึง 1.13 แสนล้านบาทโดยประมาณ หรือสูงขึ้น 0.19% ในอัตราการเติบโตของจีดีพีทั้งหมด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2558 ซึ่งถือได้ว่าเป็นค่าเฉลี่ยที่เพิ่มสูงที่สุดในทวีปเอเชีย
การชำระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มมูลค่าให้เศรษฐกิจไทยถึง 1.13 แสนล้านบาท
ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับประเทศอื่นในภูมิภาค อัตราการเติบโตของจีดีพีที่เป็นผลมาจากการชำระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย โตมากกว่าถึงสามเท่าตัว ซึ่งในทวีปเอเชีย e-Payment ดันจีดีพีของภูมิภาคโดยรวมเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 0.06 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งในประเทศไทยเองนั้น ผลพลอยได้จากการเติบโตของการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์นั้น สร้างงานกว่า 75,730 อัตราต่อปี ภายในช่วงเวลาเพียงห้าปีอีกด้วย

ที่มา ; เว็บ นสพ.ไทยรัฐ

 คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้   
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา 

-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา  ที่ 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

พัฒนาความรู้ครูผู้ช่วย 4 ภาค

พัฒนาความรู้ครูผู้ช่วย 4 ภาค
พัฒนาความรู้ครูผู้ช่วย 4 ภาค

ห้องสนทนา บน facebook

ห้องสนทนา บน facebook
ห้องสนทนาติวสอบดอทคอม

ข้อสอบออนไลน์ "ติวสอบดอทคอม" ชุดใหม่

คู่มือเตรียมสอบผู้บริหาร ภาค ก ข ค

แจ้งย้ายเว็บไปที่ www.tuewsob.com

คู่มือเตรียมสอบผู้บริหาร ภาค ก ข ค (ปรับปรุงใหม่)

รวม เล่ม + แผ่นพับ + ชีตช่วยจำ + DVD เนื้อหา + เสียงบรรยาย + EMS = 800 บาท
สนใจ คู่มือ ภาค ก ข ค ผู้บริหาร คลิ๊กเลย

สั่งจอง... โอนเงินเข้าชื่อบัญชี นายนิกร เพ็งลี ธนาคารกรุงไทย สาขาจอหอ บัญชีเลขที่ 341-1-38912-5 โอนเงินแล้วกรุณาโทรแจ้ง
0872494141 หรือ 0839660030

คู่มือ เตรียมสอบผู้บริหาร

คู่มือ เตรียมสอบผู้บริหาร
คู่มือ เตรียมสอบผู้บริหาร

ติวสอบออนไลน์ บน facebook

ติวสอบออนไลน์ บน facebook
ติวสอบออนไลน์ บน facebook

คลังหนังสือ ติวสอบดอทคอม

คลังหนังสือ ติวสอบดอทคอม
คลังหนังสือ ติวสอบดอทคอม

ติวสอบดอทคอม

ติวสอบดอทคอม
ติวสอบดอทคอม